บทความ

สมาชิกการจัดการ60 ห้องB

สมาชิกในชั้นเรียน อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค     อาจารย์ปาล์ม 1. นาย เกียรติศักดิ์                          เกตุอักษร     ไฟท์ 2. นาย จรณะ                                แท่งทอง       เปา 3. นางสาว เฉลิมพร                      ศรีมณี            เจล 4. นาย ชาติศิริ                              รัตนชู           ติ๊บ 5. นาย ชินวัตร                               เพ็ชรโสม     แมน 6. นาย ณฐกร                            ชัยปาน         โจ 7. นาย ณัฐกร                           สงสม           จ๊อบ 8. นาย ณัฐพล                           วงศ์สุขมนตรี เกมส์ 9.  นางสาว ทัศนีย์วรรณ กาญจนโนภาส ษา 10.  นาย ธนวัต                              แก้วบุษบา ธัน 11.  นายนราธร                                  จันทรจิตร เนม 12.  นางสาวนิชาภัทร           เพ็ชรวงศ์ แอม 13.  นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ อ้าย 14.  นางสาวปัถยา                       บุญชูดำ ปัด 15.  นายพศวัต                              บุญแท่น อ๊อฟ 16.  นางสาวแพรพลอย       พรหมประวัติ แพรรี่ 17.  นายไฟซ้อล  

As/Rs (ระบบการจัดเก็บสินค้าอัตโนมัติ)

รูปภาพ
ระบบการจัดเก็บสินค้าอัตโนมัติ  (Automatic Storage and Retrieval System) AS/RS คือ การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ วัตถุประสงคของ AS/RS •ทําหนาที่สนับสนุนการจัดการคลังสินคาโดยทําใหเกิดการจัดเก็บหรือนําผลิตภัณฑออกมาอยางมีประสิทธิภาพมาที่สี่สุดในดานความรวดเร็ว  ความถูกต้อง  การลดจํานวนคนงาน  • เพื่อใหมีขอมูล ณ เวลาปจจุบัน(Real time) เพื่อนำไปใช้ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการคิดตนทุนและงานดานบัญชีภายในโรงงานเนื่องมาจากการเก็บสินคาและการนําผลิตภัณฑไปใชถูกติดตามในรูปแบบอีเลคโทรนิค ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board A

เครื่องจักร NC

รูปภาพ
เครื่องจักรNC  เครื่องจักร NC ( Numerical Control) จะถูกควบคุมการทํางานดวยรหัส ที่ประกอบดวยตัวเลข ตัวอักษรและสัญลักษณอื่นๆ ซึ่งรหัสเหลานี้จะถูกแปลงใหเปนสัญญาณทางไฟฟา จากนั้นจึงสงไปกระตุนใหอุปกรณทางไฟฟา เชนมอเตอรหรืออุปกรณอื่นๆ ทํางาน ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ เครื่อง NC รุนแรกๆจะปอนรหัสผานทาง Punched Card ตอมามีการพัฒนามาเปนการปอนดวย เทปกระดาษเจาะรู ตอมาถึงยุคที่คอมพิวเตอรเฟองฟูจึงนําคอมพิวเตอรมาเปนตัวปอนรหัสแทน เทป กระดาษ จึงเปนที่มาของเครื่อง CNC (Computerized Numerical Control)             CNC เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง ข้อดีของการใช้เครื่องCNC 1.  มีความเที่ยงตรงสูงในการปฏิบัติงานเพราะชิ้นงานต่างๆ ต้องการขนาดที่แน่นอน 2.  ทุกชิ้นงานมีคุณภาพส

เทคโนโลยีการสื่อสาร

รูปภาพ
ข้อดี -ได้รับส่วนรถค่าเครื่องโทรศัพท์ ข้อเสีย -มีค่าใช้จ่ายรายเดือน -มีการผูกสัญญาการใช้งาน -มีเงื่อนไขที่ต้องอ่านให้เข้าใจ

วิชา คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

เนื้อหาประจำวิชาคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม บทที่1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ บทที่2 การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานอุตสาหกรรม บทที่3 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย บทที่4 ระบบประมวลผล บทที่5 เครื่องจักรกลNC บทที่6 หุ่นยนตือุตสาหกรรม บทที่7 ระบบขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ บทที่8 ระบบการจัดเก็บและการเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ บทที่9   PLC/PC บทที่10   คอมพิวเตอร์กับงานผลิต

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
นาย สุชาครีย์ งามศรีตระกูล  ชื่อเล่น เบนซ์ จบมาจาก วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ สาขา เทคนิคยานยนต์ บ้านอยู่ ยะลา มาศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม โปรแกรมวิชา อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขา เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม ติดต่อ 0642923488